Skip to main content

ระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ : コンピューターのオペレーティングシステム

วันนี้จะมาพูดถึงประเภทของระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ (Operating - system)
ระบบปฏิบัติการที่ใช้กันโดยทั่วไปในปัจจุบัน อาจนำเอาไปใช้ได้กับคอมพิวเตอร์หลากหลายชนิด ตั้งแต่เครื่องคอมพิวเตอร์ระดับใหญ่จนถึงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก ซึ่งอาจแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ
コンピューターのオペレーティングシステムについて話します。現在オペレーティングシステムは、一般的に使用されており、大小さまざまなタイプに適用できます。オペレーティングシステムは次の3種類に分けることが出来ます。

ระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยว ( stand – alone OS )
เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสำหรับผู้ใช้เพียงคนเดียว เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ตามบ้านหรือสำนักงาน ซึ่งจะถูกติดตั้งระบบปฏิบัติการนี้รองรับการทำงานบางอย่าง เช่น พิมพ์รายงาน ดูหนัง ฟังเพลง หรือเชื่อมต่อเข้ากับอินเทอร์เน็ต เป็นต้น ปัจจุบันพัฒนาให้มีคุณสมบัติที่เป็นลูกข่ายเพื่อขอรับบริการจากเครื่องแม่ข่ายได้ด้วย เช่น DOS , Windows , Mac OS X , Linux 
1. スタンドアロンOS
自宅や職場で使うコンピューターなど、1台のコンピューターのみを使用するためのもので、書類作成、映画鑑賞、音楽鑑賞、ネット接続などに使用します。現在DOSやウィンドウズ、マックOSX、Linuxなどからサービスを要求する特性が開発されてます。

ระบบปฏิบัติการแบบเครือข่าย ( network OS )
เป็นระบบปฏิบัติการที่มุ่งเน้นและให้บริการสำหรับผู้ใช้หลาย ๆ คน ( multi - user ) นิยมใช้สำหรับงานให้บริการและประมวลผลข้อมูลสำหรับเครือข่ายโดยเฉพาะ มักพบเห็นได้กับการนำไปใช้ในองค์กรธุรกิจทั่วไป เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ติดตั้งระบบปฏิบัติการเหล่านี้เรียกว่า เครื่อง server ซึ่งเป็นเสมือนเครื่องแม่ข่ายที่ให้บริการข้อมูลต่าง ๆ ที่จำเป็นสำหรับผู้ใช้นั่นเอง เช่น Windows Server เป็นต้น
2. ネットワークOS
LANなどのネットワーク環境で、クライアント側のコンピュータが、ファイルサーバなどのサーバを効果的に共有する機能を実現するために開発されたオペレーティングシステムです。企業の多くはこのOSを使用しています。

ระบบปฏิบัติการแบบฝัง ( embedded OS )
เป็นระบบปฏิบัติการที่พบเห็นได้ในอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก เช่น พีดีเอหรือ Smart phone บางรุ่น สามารถช่วยในการทำงานของอุปกรณ์แบบไม่ประจำที่เหล่านี้ได้เป็นอย่างดี เกิดขึ้นมาหลังสุดพร้อม ๆ กับที่อุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพาเหล่านี้ได้รับความนิยมมากขึ้น บางระบบมีคุณสมบัติที่ใกล้เคียงกับระบบปฏิบัติการแบบเดี่ยวด้วย เช่น รองรับกับการทำงานทั่วไป ดูหนัง ฟังเพลงหรือเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ เช่น Pocket PC , Palm OS , Symbian OS 
3. 組み込みOS
PDAやスマホなど、携帯式の小型コンピューターによく見られます。音楽鑑賞、映画鑑賞、ネット接続などもでき、スタンドアロン式と同じような機能も備えています。

Credit : http://www.suwanpaiboon.ac.th/wbi/page/t23.htm

Comments

Popular posts from this blog

金型成形:แม่พิมพ์โลหะ

แม่พิมพ์โลหะ หมายถึงแม่พิมพ์ที่ใช้ในการผลิตชิ้นส่วนหรือผลิตภัณฑ์โลหะ แม่พิมพ์โลหะสามารถจำแนกออกได้ดังนี้ (1) แม่พิมพ์ปั๊ม (Stamping) เป็นวิธีการนำแผ่นเหล็ก (Strip) เข้ามายังเครื่องปั๊มที่มีแม่พิมพ์ประกอบติดอยู่กับแท่นปั๊ม แท่นปั๊มจะกดลงมายังแผ่นเหล็กเพื่อให้ได้ชิ้นงานตามแบบแม่พิมพ์ (2) แม่พิมพ์ขึ้นรูป (Forming) เป็นการเปลี่ยนรูปทรงของแผ่นเหล็กให้เป็นไปตาม รูปทรงของพันซ์ (Punch) และดาย (Die) โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงความหนาของเหล็ก (3) แม่พิมพ์ดึงขึ้นรูปลึก (Deep draw die) เป็นการควบคุมการใช้แรงกดดันหรือแรงที่กดลงบนแผ่นงาน (Blank) หรือชิ้นงาน (Work piece) ดันผ่านแม่พิมพ์ ด้วยพั้นช์ (Punch) ให้มีรูปร่างเป็นหลุมหรือโพรงลงไป (4) แม่พิมพ์ตีขึ้นรูป (Forging) เป็นแม่พิมพ์ที่ใช้ในการแปรรูปโลหะให้ได้รูปร่างตามที่กำหนดเป็นจำนวนมาก (5) แม่พิมพ์ฉีดหล่อ (Die casting) เป็นวิธีการหล่อที่ใช้ความดันสูงอัดน้ำโลหะเข้าสู่แม่พิมพ์ ブロー成形金型 金型成形とは金属部品を作る金型です。 次の5つの金型が主な金型の種類となります。 1. スタンピング成形です。スタンピング成形は ストリップという鋼板を金型セットされた成形気に入れて、 そのストリップにスタンプします。 2. 成形金型とはパンチとダイの形状に応じて ...

การปรับสภาพผิวของโลหะ

การปรับสภาพผิวของโลหะ หลังจากที่มีการขึ้นรูปโลหะเหล็กหรืออลูมิเนียมที่เป็นชิ้นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ หรือว่าเป็นชิ้นส่วนของ Jig เสร็จเรียบร้อยแล้ว ในขั้นตอนสุดท้ายส่วนใหญ่ก็จะมีการปรับสภาพผิวของโลหะ ซึ่งกรรมวิธีที่เราคุ้น ๆกันก็คือการ เคลือบหรือชุบผิว ไม่ว่าจะเป็นการชุบเคลือบสี หรือการชุบเคลือบสังกะสี  ,ทองแดง ,ดีบุก ,นิกเกิ้ล ,โครเมียม ซึ่งวิธีดังกล่าวก็จะทำให้ผิวของงานเกิดความสวยงาม แวววาว  ทนต่อการผุกร่อน 金属の表面改質について話します。 金属やアルミのパーツや治具の成形後、最終工程は表面改質となります。 私たちがよく知っている方法は、色やメッキ、銅、錫、ニッケル、クロムなど表面のコーティングです。 このようなコーティングでワークが美しく輝きを増し、腐食にも強くなります。 นอกจากนี้ก็ยังมีวิธีการปรับสภาพผิวของซิ้นงานโลหะด้วยวิธีอื่นอีก  เพื่อที่จะทำให้เนื้อวัสดุมีคุณสมบัติอย่างอื่นเพิ่มเข้ามา  จึงอยากจะพูดเรื่องของการปรับสภาพผิวของโลหะด้วยวิธีอื่น  ที่บางคนยังไม่รู้มาบอกให้ทราบกัน ซึ่งจะขอยกตัวอย่างโลหะที่มีการใช้กันอย่างแพร่หลายอยู่แล้ว ก็คือเหล็กและอลูมิเนียม そのほか、別の特性を生む方法もあります。 知らない人もいると思うので、今日は鉄とアルミという、 よく使われる金属について話をします。 วัสดุอลูมิเนียม การทำอโนไดซ์ (Anodize) โดยการทำให้เกิดออกไซด...

再生可能エネルギー:พลังงานทดแทน

วันนี้ถ้าพูดถึงพลังงาน ทุกคนคงคิดถึงน้ำมันเป็นส่วนใหญ่ใช่ไหมคะ แต่วันนี้จะมาพูดถึง พลังงานทดแทนหมายถึงอะไรและแบ่งออกเป็นกี่ประเภทกันค่ะ พลังงานทดแทน หมายถึง พลังงานที่ใช้ทดแทนเชื้อเพลิงประเภทน้ำมัน ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานหลักที่ทั่วโลกนิยมใช้ในปัจจุบัน ทั้งนี้ พลังงานทดแทนแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ตามแหล่งที่มาของพลังงาน ได้แก่ พลังงานทางเลือก ( Alternative Energy ) คือพลังงานที่ได้จากแหล่งฟอสซิลอื่น ที่ไม่ใช่น้ำมัน ได้แก่ ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ หรือยูเรเนียม ซึ่งมีแต่ใช้แล้วจะหมดไป พลังงานหมุนเวียน ( Renewable Energy ) คือ พลังงานที่ได้จากแหล่งที่สามารถผลิต หรือก่อกำเนิดพลังงานนั้นขึ้นมาเองได้ และยังหมุนเวียนนำกลับมาใช้ได้อีก มักเป็นพลังงานสะอาด และไม่สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานน้ำ พลังงานลม พลังงานคลื่น พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานเคมีจากไฮโดรเจน พลังงานชีวมวล พลังงานชีวภาพ พลังงานไบโอดีเซล พลังงานเอทานอล หรือ แก๊สโซฮอล เป็นต้น     จากคำจำกัดความข้างต้น สรุปได้ว่า พลังงานทางเลือก ถือเป็นพลังงานทดแทนประเภทหนึ่ง ซึ่งเป็นพลังงานที่ทุกวั...