วันนี้จะขอพูดเรื่องการเลือกใช้คำในการสื่อสารกับคนอื่นๆ
มีหนังสือญี่ปุ่นเล่มหนึ่งชื่อว่า กฏ9ข้อในการสื่อสาร
ในชีวิตของคนเรานั้นมีหลายครั้งที่เราต้องทำการตัดสินใจ และต้องขอร้องให้คนอื่นๆช่วย
การตอบว่าNoหรือYes นั้นเป็นผลลัพท์ที่แตกต่างกันแต่อาจจะต่างเพียงเล็กน้อย เหมือน79.5 กับ80เท่านั้น
ดังนั้นกฏ9ข้อนี้จึงเป็นการเติมเต็มความต่างนั้นในการสื่อสารนั่นเอง
จากหนังสือเล่มนี้กล่าวว่า ในวันหนึ่งๆคนเราจะถูกขอร้องประมาณ22ครั้ง
จึงคิดหาวิธีตอบที่ดีในกรณีที่ถูกตอบว่าตอบ No แต่หากเปลี่ยนเป็น Yes ได้ผลลัพท์ที่ได้ก็อาจเปลี่ยนไปได้
เพื่อให้เปลี่ยนเป็น Yes ได้ มีวิธีการ3ขั้นตอน ดังต่อไปนี้
1 ไม่ใช้คำพูดที่อยู่ในหัวทั้งๆอย่างนั้น
2 คาดเดาความคิดของฝ่ายตรงข้าม
3 ทำผลประโยชน์ให้สอดคล้องกับของฝ่ายตรงข้าม
หากเราคิดตามขั้นตอนสามข้อนี้ แล้วเลือกคำที่ใช้ในการพูด จะทำให้การสื่อสารของเราส่งผลดียิ่งขึ้น
โดยในหนังสือได้ยกตัวอย่างที่เข้าใจง่ายๆเอาไว้ เช่น หากเราอยากจะไปออกเดทกับคนที่ชอบ
เราอาจจะไม่ได้พูดชวนไปออกเดทโดยตรง แต่ลองคิดดูว่าเขาจะชอบอาหารแบบไหน
เช่น ถ้าดูว่าเขาน่าจะชอบอาหารอิตาลี แล้วเราก็ชวนเขาว่า รู้จักร้านพาสต้าอร่อยๆเจ้านึง ไปด้วยกันไหม
แม้ผลที่ได้อาจจะไม่ต่างจากการชวนไปออกเดทโดยตรง
แต่เมื่อเราปรับวิธีการพูด ก็คิดว่าน่าจะทำให้มีแนวโน้มจะชวนสำเร็จสูงขึ้น
นอกจากนั้นก็ยังมี7ข้อที่ช่วยในการคาดเดาความคิดของฝ่ายตรงข้าม ได้แก่
หนึ่ง คาดเดาเรื่องที่อีกฝ่ายชอบ
สอง คาดเดาเรื่องที่ไม่ชอบ และลองคิดหาคำที่จะหลบหลีกจากเรื่องนั้นๆ
เช่น แทนที่เราจะพูดว่า ห้ามจับนะ ก็เปลี่ยนมาพูดว่า ถ้าจับแล้วมือและเสื้อผ้าของเธออาจจะเปื้อนได้นะ แทน
สาม สื่อว่า ให้อิสระในการเลือก
แต่การมีตัวเลือกเยอะเกินไปก็อาจทำให้ตัดสินใจยาก แต่เราก็สามารถเสนอตัวเลือก
เพื่อสร้างความรุ้สึกว่ามีอิสระในการตัดสินใจให้กับอีกฝ่ายได้ เช่น AกับB จะเลือกอะไรดี เป็นต้น
สิ่ พูดโดยให้อีกฝ่ายรู้สึกว่าอยากทำให้ เช่น ของที่เธอทำให้นี้น่ะ มีแต่คนชมว่าดีมากเลยนะ ถ้าขอให้ทำให้อีกครั้งจะได้ไหม
ห้า บอกถึงความสำคัญอย่างเฉพาะเจาจงของอีกฝ่ายเป้นนัยๆ
เช่น ต่อให้คนอื่นๆไม่มาก็ไม่เป้นไร แต่อยากให้คุณมา เมื่อพูดประมาณนี้ก็จะทให้อีกฝ่ายรู้สึกว่ามีความสำคัญและตอบตกลงได้ง่าย
หก ให้ความรู้สึกว่าเป็นทีม
เช่น ไม่ใช่บอกว่าทำงานนั้นซ่ะ ตั้งใจเรียนซ่ะ แต่ก็พูดใหม่ว่า มาทำงานด้วยกันนะ หรือมาเรียนไปด้วยกันนะ
ก็จะสร้างความรู้สึกเป็นพวกพ้องเดียวกันได้ง่าย
เจ็ด เพิ่มคำที่แสดงความรุ้สึกขอบคุณเข้าไปในประโยค เช่น รู้สึกขอบคุณสำหรับทุกๆครั้ง เป็นต้น
พอคนฟังได้ฟังตามหลักจิตวิทยาแล้วก็จะตอบปฏิเสธได้ยากยิ่งขค้น
จะเห็นว่าแค่การเปลี่ยนคำพูด ก็ให้ผลลัพท์และสร้างความประทับใจที่แตกต่างกันได้
และทำให้การสื่อสารเป็นไปอย่างราบรื่นยิ่งขึ้นแล้ว
และทำให้การสื่อสารเป็นไปอย่างราบรื่นยิ่งขึ้นแล้ว
ซึ่งเทคนิคดังกล่าวนี้สามารถประยุกต์ใช้ได้กับทุกเรื่องและทุกๆเหตุการณ์
ดังนั้นหากมีโอกาสก็อยากจะขอให้ลองทำไปใช้ดูนะคะ
ดังนั้นหากมีโอกาสก็อยากจะขอให้ลองทำไปใช้ดูนะคะ
今回は人に物事を伝えるときの言葉の選び方についてお話します。
日本の本で「伝え方が9割」という本があります。
人生にはいくつもの岐路があり、
人生にはいくつもの岐路があり、
そのつど私たちは人に「頼みごと」をしています。
「ノー」と「イエス」では大きく結果が異なりますが、
「ノー」と「イエス」では大きく結果が異なりますが、
もしかしたらその差とは79.5点と80点ほどの僅差だったかもしれません。
この差の9割を占めるのが「伝え方」だといいます。
この本によると人は一日に頼みごとを平均22回しているそうです。
「ノー」と言われる場面を伝え方の工夫で少しでも
「イエス」に変えることが出来れば、結果が大きく変わるかもしれません。
「イエス」に変えるためには3つのステップがあるといいます。
3つのステップは次の通りです。
1 自分の頭の中をそのまま言葉にしない
2 相手の頭の中を想像する
3 相手のメリットと一致するお願いをつくる
このステップを踏んで言葉を選び、
話すことで物事がうまくいく可能性が高くなります。
話すことで物事がうまくいく可能性が高くなります。
その本の例を挙げますが、もしあなたが
「好きな人とデートしたい」と思っているなら、
「好きな人とデートしたい」と思っているなら、
そのまま伝えるのではなく、例えば相手がイタリアンを好きなことを考え、
「驚くほど美味しいパスタの店があるのだけど、行かない?」と誘うのです。
結局は「デート」の誘いなのですが、伝え方が異なるだけで、
成功する確率が高くなると思いませんか?
さらに「相手の頭の中を想像する」のには、7つの切り口があります。
① 「相手の好きなこと」を想像する。
② 「嫌いなこと」を想像し、それを回避するように言葉をつくる。
たとえば、「これを触らないで」ではなく、「これを触ると、
手や服が汚れるよ」と伝えると、相手も考えてくれます。
③ 「選択の自由」を与える。
多くのものから決断するのは難しいですが、「AとBどちらがいい?」という
ような比較だと簡単に選ぶことができます。
④ 相手の「認められたい欲」を刺激する。
「あなたが作ったこれ、すごく好評なんだよ。またお願いできない?」
と言えば、無理なお願いであっても快く応じてもらえるでしょう。
と言えば、無理なお願いであっても快く応じてもらえるでしょう。
⑤ 「あなた限定」という伝え方をする。
「他の人が来なくても、○○さんだけには来てほしいんです」と限定して頼むと、
私が必要とされていると思い、依頼を受けてくれます。
⑥ 「チームワーク化」する。
「勉強しなさい、仕事しなさい」ではなく、「一緒に勉強しよう、
一緒に仕事しよう」と言えば、子どもや同僚もやる気になってくれるはずです。
⑦ 「感謝の言葉を添える」
「いつもありがとう」といった感謝から入ると、人は心理的に「ノー」と言いにくくなるといいます。
ちょっと言葉を変えるだけで相手の受ける印象が大きく異なり、
物事がスムーズに進みます。
物事がスムーズに進みます。
これはどんな立場の相手、どんな場面でも同じなので、
もしも誰かに物事を伝えることに困っているならば、
一度トライしてみて下さい。
一度トライしてみて下さい。
Comments
Post a Comment